Tension Headache | Chakriwat Medical Information Center

Health Begins with Awareness

Tension Headache

Last week (This was on 29th of August 2015 when I answered Mr. Y) I received an inbox message from someone who we will refer to for anonymity reasons as Mr. Y. Mr. Y said that recently he experienced bouts of mild headaches. He mentioned that he read my most recent post on migraine headaches and wondered if he too suffers from migraine headaches like Mrs. X.

I replied by asking Mr. Y to further describe his headaches: were his headaches unilateral or bilateral (pain on one side or both sides of the head), were there any flashes of light or visual disturbances before the onset of the headache, and if any factors were present that might have set off his headaches. (I ask these questions as his answers could either rule in or rule out a migraine headache.) Furthermore, I asked him if by any chance his headaches occurred at night and if there was any eye pain involved, teary eyes, or a runny nose. (I ask these questions to possibly rule in or rule out cluster headache as this type of headache occurs more frequently in the younger male population.)

Mr. Y replied that he has never experienced any headaches in the past and that he would categorize himself as a healthy individual who does not smoke or drink. He went on to share that his headaches have been going on for the past few weeks, usually occurring at the end of a long work day, with the pain starting around his neck and forehead and radiating out to the top of his head. In addition to this, he further shared that lately he has been under a lot of pressure at the office and the recent bombing tragedy at the Erawan shrine in Bangkok has left him feeling anxious with difficulty falling asleep at night.

I shared with Mr. Y that since he has never experienced any headaches in the past, and the history he provided seems to rule out cluster and migraine headaches as the possible diagnosis. However, his history and symptoms point strongly to a diagnosis of tension headaches, the many stressors in his life at this period such as being under pressure at his work and the tragic incident at the Erawan shrine. Being under a lot of stress can cause the muscles in the neck, back, and forehead, to tense and tightened up, especially at the end of a long day, giving the discomforting sensation of a mild headache.

According to the World Health Organization (WHO), tension headaches are the most common types of headaches affecting a staggering figure of more than 1.4 billion people globally. Patients usually complain of a mild to moderate squeezing pressing pain in a band-like manner around the head, and tightening of the muscles in the neck and back. Stressful situations, sleep deprivation, anxiety and even simply having poor posture can lead to a mild case of a tension headache.

I discussed with Mr. Y my thoughts on his symptoms given the history he provided. Furthermore I reassured him that tension headaches are self-limited and should resolve with him getting plenty of rest both physically and mentally. I spoke with him about the importance of regular exercise, and identifying stressors in life, and more importantly employing relaxation techniques such as meditation to cope with stressors. In addition, I shared that on the pharmacotherapy side, any type of over the counter non-steroid anti-inflammatory medicine such as ibuprofen (NSAIDs) can help relieve symptoms. Finally, I advised Mr. Y to go and see his primary care provider for a check up, a physical examination and most importantly to discuss his headaches.

I hope Mr. Y’s headaches will resolve soon. It was a pleasure sharing medical knowledge with him.

My thoughts and prayers are with our country at this time and especially the families who have lost their loved ones in the tragic bombing of the Erawan shrine. Please stay strong.

tension-head_16004505_26b89cd04b9c4fcbd4a246b454183020ee8682cf Thai Version:

(This was on 29th of August 2015 when I answered Mr. Y) ประกาศให้ทราบโดยทั่วกันค่ะภาคภาษาไทยนี้มาจากการ แปลบทความที่เขียนโดย นายแพทย์จักรีวัชร วิวัชรวงศ์ สัปดาห์ที่แล้วผมได้รับข้อความจากผู้ชายคนหนึ่งซึ่งผมขอเรียกว่านาย y นาย yบอกว่า เมื่อไม่นานมานี้มีอาการปวดหัวแบบอ่อนๆเขาบอกว่า เขาได้อ่านโพสของผมเกี่ยวกับไมเกรน เขาสงสัยว่าจะปวดหัวแบบไมเกรนเหมือนนาง X หรือไม่ ผมตอบกลับไปด้วยคำถาม เพื่อให้นาย y อธิบายอาการปวดหัวอย่างเอียด ด้วยคำถามที่ว่า ปวดข้างเดียวหรือสองข้าง มีแสง หรือมองเห็นอะไรที่ทำให้ปวดหัว หรือว่ามีปัจจัยอะไรที่ทำให้เกิดอาการปวดหัว(ผมถามคำถามนี้เพื่อที่จะดูว่าเราจะสามารถตัดอาการของไมเกรนออกไปได้หรือไม่)นอกจากนี้แล้ว ผมยังถามเขาอีกว่า เวลาปวดหัวเป็นตอนกลางคืนหรือเปล่า แล้วมีอาการปวดตาด้วยหรือไม่ น้ำตาไหลไหม มีน้ำมูกไหม(ผมถามคำถามเหล่านี้เพื่อที่จะตัดอาการปวดหัวแบบ cluster headacheออกไป )ซึ่งอาการปวดหัวเหล่านี้จะเกิดขึ้นบ่อยกับบรรดาชายหนุ่ม นายy ตอบผมว่าเท่าที่ผ่านมาเขาไม่เคยปวดหัวเลย เขาจัดตัวเองอยู่ในกลุ่มคนที่มีสุขภาพแข็งแรง เป็นคนที่ไม่สูบบุหรี่ ไม่ดื่ม และเขาก็ยังบอกด้วยว่า เขาปวดหัวมาต่อเนื่องหลายสัปดาห์ที่ผ่านมา ส่วนมากจะเกิดขึ้นในช่วงเวลาหลังจากที่ทำงานติดต่อกันกันในช่วงเวลายาว อาการปวดหัวเริ่มขึ้นที่ต้นคอ หน้าผากและรุกรามไปที่ศรีษะ นอกจากนี้แล้วเขาบอกว่า เมื่อไม่นานมานี้เขาได้รับแรงกดดันจากที่ทำงาน ผมบอกกับนายyว่า เท่าที่เขาไม่เคยมีอาการปวดหัวในอดีตนั้นดูเหมือนว่าต้องตัดอาการปวดหัวแบบไมเกรนและ cluster headacheออกไป อย่างไรก็ตามดูจากอาการแล้วเหมือนว่า จะมีอาการปวดหัวจากความเครียด ความเครียดหลายๆอย่างในชีวิตของเขาในระยะนี้ เช่น ความเครียดในเรื่องการทำงาน และเหตุการณ์ระเบิดที่กรุงเทพฯ การมีความเครียดมากๆ มีผลต่อกล้ามเนื้อที่ต้นคอ หลังและหน้าผาก อาการเครียดเหล่านี้ทำให้มีความตึงเกิดขึ้นได้มากขึ้น โดยเฉพาะ ในวันทำงานที่ยาวนานเป็นผลให้มีอาการปวดหัวแบบอ่อนๆ องค์การอนามัยโลกได้มีการกล่าวถึงเรื่องนี้ว่า อาการปวดหลังจากความเครียดเป็นอาการปวดที่พบได้ทั่วไป มีผลต่อคนทั่วโลก1.4 พันล้านคน ผู้ป่วยมักจะบอกว่ามีอาการปวดหัวเหมือนมีอะไรมารัดที่ศรีษะ และรู้สึกตึงที่กล้ามเนื้อที่ต้นคอและศรีษะความตึง เหตุการณ์เครียด,อาการนอนหลับแบบไม่เต็มอิ่ม,ความกังวล,การเดิน นอนนั่งที่ไม่ถูกท่า สามารถก่อให้เกิดอาการปวดหัวแบบอ่อนๆและตึงๆได้ ผมได้คุยกับนายy ถึงลักษณะอาการเจ็บป่วยของเขาเท่าที่ให้มา ผมได้บอกกับเขาว่าอาการปวดหัวแบบตึงๆนี้ มันสามารถแก้ไขได้ด้วยตนเอง โดยการพักผ่อนให้เต็มที่ทั้งร่างกายและจิตใจ ผมบอกเขาว่าการออกกำลังกายคือสิ่งสำคัญ การแยกแยะให้เขาเห็นว่าความเครียดในชีวิตมีอะไรบ้าง นอกจากนี้แล้วสิ่งที่สำคัญคือผมได้แนะนำเทคนิคการผ่อนคลาย เช่น การทำสมาธิเพื่อผ่อนคลายความเครียด ผมได้เพิ่มไปอีกว่า การใช้ยาก็สามารถช่วยได้ มียาหลายตัวที่สามาหาซื้อได้ตามร้านขายยา ยาแก้อักเสบที่ไม่ใช้เสตียร์รอยด์ เช่น ไอบูโปรเฟน สามารถลดอาการเหล่านี้ได้ท้ายที่สุดผมแนะนำให้นายy ไปพบแพทย์ส่วนตัวเพื่อตรวจสุขภาพและปรึกษาแพทย์เกี่ยวกับอาการปวดศรีษะ ผมหวังว่านายy จะหายปวดศรีษะในไม่ช้านี้ผมรู้สึกดีใจที่ได้มีโอกาสแบ่งปันความรู้ทางด้านการแพทย์กับเขาในครั้งนี้ ผมขอสวดมนต์ให้ประเทศของเราและโดยเฉพาะครอบครัวที่สูญเสียบุคคลอันเป็นที่รักจากเหตุการณ์ระเบิดที่กรุงเทพฯในครั้งนี้ขอให้แข็มแข็งเอาไว้นะครับ

tension-thai_16004505_8d4b47113d5d7dbb1da75483652a5496815cc4b3

Author:

Share on FacebookTweet about this on TwitterShare on Google+Email this to someonePrint this page
 


WordPress › Error

There has been a critical error on this website.

Learn more about troubleshooting WordPress.