Blood Pressure and Its Effects on Your Health - Chakriwat Medical Information Center

Health Begins with Awareness

Blood Pressure and Its Effects on Your Health

Have you ever noticed that everytime you make visit to your doctor's office, a blood pressure reading is always taken? So what conclusion can be drawn from this observation? Blood pressure reading is a very important aspect of healthcare as it gives the caregiver a snapshot of the patient's wellbeing.

It is standard procedure that all patients eighteen and older should have their blood pressure checked every time they see a healthcare provider. Blood pressure is indicated by two measurements: systolic pressure and diastolic pressure. Systolic pressure is the measurement of the force with which the heart pumps blood out of its chambers and into the circulatory system (the contraction of the muscle). Diastolic pressure on the other hand, is the relaxation of the cardiac muscle, which occurs while the chambers of the heart begin to fill with blood again. While a reading of 120 mmHg (systolic pressure) / 80 mmHg (diastolic pressure) is widely considered the ideal pressure for our circulatory system, acceptable range falls between 100-138 mmHg for systolic pressure and 60-90 mmHg for diastolic pressure.

Syndromes of high blood pressure are considered “a silent killer” since oftentimes there are very few symptoms or warning signs. Thus, it is absolutely essential to keep a close monitor of blood pressure before any serious complications arise. Perhaps the most fatal complication of hypertension is atherosclerosis. This occurs when the blood vessels become injured from enduring the intensity of high pressure of the traveling fluids. This condition can result in aneurysms, hemorrhages, blood clots and damages to other systems such as the heart (heart failure), eyes (damage to the retina) or even the brain (stroke).

Usually, it takes around three to six separate blood pressure readings in order to obtain an accurate assessment of an individual’s baseline measurement. Therefore, to officially diagnose a patient as suffering from primary hypertension, the golden rule that the patient must have a high blood pressure reading on three separate office visits is followed (readings greater than 140/90 mmHg on three separate office visits = can formally diagnose patient as hypertension).

The initial treatment is always non-pharmaceutical that comes in the fashion of a trial in lifestyle modifications that includes: exercise, weight loss (the most effective lifestyle modification), and salt restriction.

An important rule of medical physiology is that wherever salt goes, fluid will follow. Therefore if we have too much salt in our diet, an increase pulling force of fluids will occur. This results in an influx of fluids entering our intracellular compartment with the hope of neutralizing the high salt content of the food that we ate. This physiological phenomenon directly results in an increase of blood pressure proving that dietary modification is one of the most essential element of keeping our blood pressure in check. (important to restriction salt intake for individuals with high blood pressure - think of all the healthy yet delicious meals everyone suggested in the previous HDL vs LDL post).

If after three to six months of non-pharmaceutical therapy and the patient’s blood pressure is still elevated, a diuretic such as hydrochlorothiazide should be taken with the hope of lowering the individual’s intracellular fluid, in turn, lowering the blood pressure. The majority of patients will be well stabilized with this medication alone, however, in the rare case that blood pressure is still elevated, a second anti-hypertensive medication such as an ACE inhibitor (captopril) or a beta blocker (metoprolol) should be included in the regiment.

As with any other disease, working closely with your healthcare provider towards early detection is the key to preventing any serious complications of high blood pressure.

bp_16601923_02aa643071a42c0586dd46d46e861a225baae45b

Thai version:

บทความโดย นายแพทย์จักรีวัชร วิวัชรวงศ์

คุณเคยสังเกตุไหมครับว่าเหมื่อไหร่ก็ตามที่คุณไปตรวจความดันโลหิต การอ่านผลเลือดเป็นสิ่งที่จำเป็นต้องทำ แล้วผลสรุปมีอะไรบ้างที่ได้จากการตรวจโลหิตน่ะเหรอครับ ผลตรวจความดันโลหิตหรือเลือดสำคัญมากในการแพทย์เพราะมันจะบ่งบอกถึงสุขภาพของท่าน ตามมาตรฐานและระเบียบการนั้นผู้ที่มีอายุ 18 ปีขึ้นไปจะตอ้งมีการตรวจความดันเลือดทุกครั้งที่ไปพบแพทย์ การตรวจความดันเลือดสามารถวัดได้จาก การวัดความดันที่เกิดจากหดตัวของหัวใจด้านล่างซ้าย(systolic pressure)ซึ่งเกิดจากแรงที่หัวใจสูปเลือดออกจากห้องหัวใจเข้าสู้ระบบหมุนเวียนโลหิต(การหดตัวของก้ามเนื้อ) และการวัดเมื่อหัวใจด้านล่างซ้ายพักตัว(Diastolic pressure) เกิดขึ้นจาการห้องหัวใจเปิดเพื่อให้เลือดกลับเข้ามาอีกครั้ง และค่าที่ได้นี้จะเป็นค่าที่ต่ำที่สุด ถ้าหากผลการการค่าความดันโลหิตคือ 120/80mmHg เป็นค่าในอุดมคติ หรือค่าที่สมบูรณ์ ถ้าหากค่าความดันของการวัดความดันที่เกิดจากหดตัวของหัวใจด้านล่างซ้าย(systolic pressure)ที่วัดได้อยู่ระหว่าง ค่าที่ถือว่ายังพอรับได้คือ 100 –138mmHg แต่ถ้าวัดได้138-140 mmHg หมายความว่าเป็นความดันโลหิตสูงขั้นต้น หรือเสี่ยงมากที่จะมีความดันโลหิตสูง และค่าหัวใจด้านล่างซ้ายพักตัว(Diastolic pressure)ได้ อยู่ระหว่าง 60-90 mmHg ถือว่าเป็นค่าที่ปกติ อาการความดันโลหิตสูงสามารถเป็นผู้ฆ่าอย่างเงียบได้ ในหลายๆครั้งมีน้อยครั้งนักที่จะมีอาการเตือน มันจำเป็นมากๆที่เราจะต้องคอยติดตามเอาใจใส่ผลความดันโลหิตก่อนที่จะเกิดภาวะแทรกซ้อนขึ้น สิ่งที่เป็นสาเหตุการตายของผู้ป่วยความดันโลหิตสูงคือหลอดเลือดแดงแข็ง นี่เป็นเพราะว่าหลอดเลือดได้รับบาดเจ็บจากการที่เลือดมีควมหนาแน่นและความดันสูงไหลผ่าน ผลที่คาดว่าจะตามมาเช่น หลอดเลือดโป่งพอง การตกเลือด เกล็ดเลือดจับตัวกันเป็นลิ่ม และ นอกจากนี้ยังอาจทำร้ายระบบอื่นเช่น หัวใจ ทำให้เกิดหัวใจล้มเหลว ตา ในส่วนของจอตา หรืออาจจะทำลายสมองซึ่งทำให้เกิดเส้นเลือดแตกในสมอง ในการตรวจผู้ป่วยที่มีความดันโลหิตสูงจะตอ้งมีการตรวจซ้ำ 3-6 ครั้ง เพื่อให้ได้ผลตรวจที่แม่นยำและถูกตอ้ง และผลที่ได้จะใช้ดูว่าผู้ป่วยเป็นความดันโลหิตสูงหรือไม่ และยิ่งถ้าหากผลการตรวจออกมากเป็น 140/90 mmH ผู้ป่วยจะตอ้งกลับไปตรวจ 3 ครั้ง ในการรักษาขั้นต้นนั้นไม่ตอ้งใช้ยาและหรืออุปกรณ์การแพทย์ใดๆ เพียงแต่ต้องปรับเปลี่ยนการใช้ชีวิตประจำวันเท่านั้นก็จะช่วยได้ เช่นการ ออกกำลังกาย ลดน้ำหนัก (เป็นวิธีที่ได้ผลมาก) และการควบคุมเกลือ กฎทางวิทยาศาสตร์การแพทย์นั้นมีอยู่ว่าเมื่อไหร่ก็ตามถ้ามีเกลือเข้าไปในร่างกายน้ำก็จะตามไปในด้วย ผลที่ตามมาก็คือถ้าเรามีเกลือในร่างกายเยอะเราก็จะมีน้ำอยู่ในเซลล์เยอะซึ่งจะเป็นผลให้โลหิตมีความดัน การปรับพฤติกรรมการบริโภคเป็นสิ่งที่สำคัญมากๆ เช่นอาหารที่ดีต่อสุขภาพที่หลายๆท่านได้แนะนำไว้ในโพส์ก่อนหน้านี้เกี่ยวกับไขมัน HDL vs LDL หลังจากการรักษาแบบไม่พึ่งยาเป็นระยะเวลา 3-6 เดือนแล้ว หากอาการไม่ดีขึ้น หรือแย่ลง การขับปัสสาวะเป็นสิ่งที่ตอ้งทำต่อไปด้วยการใช้ยาไฮโดรคลอโรไทเอไซด์เพื่อที่ยาตัวนี้จะเข้าไปลดน้ำระหว่างเซลล์ และจะช่วยลดความดันเลือดด้วย

ผู้ป่วยส่วนมากเมื่อใช้ยานี้แค่อย่างเดียวก็สามารถรับมือกับความดันโลหิตสูงได้ มีน้อยรายมากที่ความดันโลตหิตยังสูงอยู่ ทางเลือกต่อมาคือใช้ยาที่ใช้รักษาโรคความดันโลหิตสูง(Antihypertensive) เช่น ยาลดความดันโลหิตกลุ่ม ACE inhibitors หรือ ยากลุ่ม beta blockerให้อยู่ภายใต้การควบคุม ความดันโลหิตสูงเหมือนโรคโดยทั่วไปที่ต้องมีการดูแลอย่างใกล้ชิดจากแพทย์เพื่อที่จะสามารถตรวจป้องกันไม่ให้มีการแทรกซ้อนต่างตามมาจากความดันโลหิตสูง

bp-thai

Author:

Share on FacebookTweet about this on TwitterShare on Google+Email this to someonePrint this page
 


Post a Comment

Your email address will not be published. Required fields are marked *

  • Top Posts Today

  • Tags

  • April 2025
    M T W T F S S
     123456
    78910111213
    14151617181920
    21222324252627
    282930  
  • Share on FacebookTweet about this on TwitterShare on Google+Email this to someonePrint this page
  • FOLLOW ME

  • Subscribe to Blog via Email

    Enter your email address to subscribe to this blog and receive notifications of new posts by email.