Attention – Deficit/Hyperactivity Disorder (ADHD) - Chakriwat Medical Information Center

Health Begins with Awareness

Attention – Deficit/Hyperactivity Disorder (ADHD)

Mr. Chawalit is a traffic police officer stationed in the beautiful city of Rotorua, New Zealand. Together with his wife Kimberly, they are proud parents to an extremely energetic ten-year-old boy, Nathen.

While Nathan excels on the pitch as the star inside center of his school’s under eleven rugby football team, his academic struggle and inappropriate social interaction with his peers has become a major concern amongst the teachers at his school. After meeting with the school’s counselor, Mr. Chawalit brings his son to the pediatric office for a physical and a consult.

Mr. Chawalit begins by explaining to the doctor that his son has always been a bundle of energy. He is constantly in motion! From ruining the flowerbeds in the backyard to climbing on the kitchen countertop against the will of his dear mother (who cannot for a minute let Nathen out of her sight), the boy somehow just seems to always be tireless. Moreover, whenever Mr. Chawalit attempts to engage in a fun yet intellectually stimulating activity with his son, such as reading an adventure story to him, Nathen never seems to give his full attention and often loses track of the plot of the story.

He reveals to the doctor that his initial hopes were that his son’s discipline would naturally improve with age and with his recent enrollment at a top boarding school, the strict environment would teach him how to master some of his impulsive behavior and at the same time, cultivate his excess energy into something positive such as learning the importance of teamwork by participating in various sports.

While Nathen has been attending the boarding school for about almost one year, his behavior and demeanor has mostly been similar to before his enrollment. Next, the doctor takes a close look at Nathen’s academic progress report written by his teachers brought along to the appointment by Mr. Chawalit.

Interestingly, all of his teachers agree that Nathen has trouble settling himself down at the beginning of each class. Most teachers elaborated further on his tendencies to fidget, tap his fingers on his desk rapidly and how he can hardly contain himself in his seat for the duration of the lesson. In addition to this, Nathen lacks self-control as evident by some of his teacher’s observation of his difficulty and struggle in waiting for his turn.

Blurting out answers to a question directed at other students is a common occurrence, which often leads to interruption of the harmony of the classroom as well as other student’s concentration and thought process. Furthermore, Nathen’s teachers in the subject of history and geography both express genuine concern over his academic performance and wellbeing.

In their evaluation, they agreed that Nathen is very easily distracted, appears not to be listening to their instructions even when they speak to him directly and individually. His lack of attention is no doubt a contributing factor in Nathen’s habitual incomplete homework and careless mistakes in class assignments.

On the social side of his evaluation card, Nathen’s rugby football coach praises his natural athletic abilities. According to him, Nathen is by far the best rugger player on his under eleven squad. However, the only thing keeping Nathen from becoming the team’s captain is his inability to work together with his teammates.

He goes on to explain Nathen’s tendencies to talk over his fellow players, and his constant bickering throughout practices and matches at players on his squad to immediately pass the ball to him. While it is true that Nathen is indeed a special athlete, his behavior defeats the purpose of exposing student athletes to the feeling of camaraderie as a group and learning the importance of achieving a common goal of working together as a team.

Unequivocally, from reading Nathen’s evaluation report, the doctor clearly senses that Nathen’s struggle inside the classroom as well as his inability to fit in with his peers is indeed cause for a legitimate concern amongst his teachers. The final page of the report card further explains that for the past six months, Nathen has been working with the school’s psychologist on social skill training to better control of his impulses when interacting with his classmates and teachers.

Furthermore, the psychologist provides Nathan with behavior therapy and as well as weekly counseling in order to decrease his tendencies to be easily distracted while simultaneously employing various techniques to increase his attention span with the hope of eliminating his distractibility during class and extracurricular activities. The school’s psychologist report finished with an optimistic tone that with ongoing behavior therapy, she hopes that Nathen will be able to thrive both inside the classroom and have a positive relationship with his peers.

As the doctor meticulously goes through Nathen’s family, social and birth history, he was able to compile information to narrow down the possible diagnosis. According to Mr. Chawalit: Nathen was born at thirty-nine weeks (full term pregnancy), with uncomplicated vaginal delivery. He explains further that his wife Kim does not smoke cigarettes, take non-prescription drugs nor drink alcoholic beverages. He admits that he himself suffered from alcoholism in his youth but thanks to family intervention and alcoholic anonymous meetings at his hometown of Chachoengsao Province in Thailand, he was able to overcome his illness and discover the importance of health once he met his wife Kim.

He continues to explain that his son has never had any health issues and that his diet is considered balanced and healthy (boarding school diet). When asked if Nathen likes candy and roughly how much sweets he consumes in a week, Mr. Chawalit points out that like all of the students at the school, they receive candy every Tuesdays, Thursdays and the ice cream van comes to the school on Sundays as the coup de gras to the week!

From the history gathered, the doctor can conclude that Nathen went through a full-term birth and uncomplicated spontaneous delivery, ruling out any complications that may present with premature birth or the risk of potential neurological injury associated with a complicated delivery process as a direct cause of some of the symptoms and concerns brought forward by many who care for Nathen’s wellbeing. (The use of tools such as forceps during delivery has been known to cause neurological injury).

Furthermore, Nathen’s mother Kim does not drink alcohol, nor use tobacco products nor take non-prescription drugs. This rules out any potential neurological and developmental delays due to prenatal substance exposure. Lastly, as Nathen receives the same amount of sweets and treats as his peers at the boarding school (three times per week), the doctor does not believe that his hyperactive behavior is due to high sugar in his diet.

Next, the doctor moves on to the physical examination. He notes that Nathen is a very cooperative, friendly and generally an easy going talkative ten-year-old boy. Physical evaluation including the sound of his lungs and heart proves normal. In addition to this, Nathen’s blood work from his yearly physical indicates that his chemistry is within normal limits for his age including his thyroid hormone level. (Too much thyroid hormone can cause symptoms such as restlessness and irritability in children). Next, the hearing and vision examination yields normal findings. This particular examination is extremely important as vision or hearing impairment can be a contributing factor to behaviors such as failure to pay attention in the classroom.

Based on Nathen’s medical history and the result of the physical examination, the doctor is able conclude that his behavioral concerns do not stem from his physical health as Nathen is developing inline physically for a ten-year-old boy. However, with history of significant behavior problems both at home and at school which is by all account severe enough to interfere with daily function, the doctor suspects that Nathen suffers from attention deficit hyperactive disorder (ADHD).

The doctor explains to Mr. Chawalit that attention deficit hyperactivity disorder (ADHD) is a disorder characterized by the individual showing signs of inattention, having short attention span and hyperactive behavior. These characteristics are severe enough to hinder the individual’s daily life including academic performance and relationship with peers. The doctor elaborates that diagnosing ADHD in a child can be tricky and that ruling out medical causes of the symptoms through medical exam and medical history is vital.

Generally, the diagnosis is made when the patient displays characteristics of ADHD before the age of twelve and the duration of symptoms lasts for more than six months. Furthermore, the patient must exhibit characteristics of ADHD behavior in at least two different environments, such as at home and at school that are severe enough to interfere with their daily functioning.

The doctor would like Nathen to continue counseling with the school’s psychologist with special attention in behavioral therapy and social skills training. In addition to this, the doctor would like to start Nathen on a trial of a medication called methylphenidate (Ritalin), which is a central nervous system stimulant. It is believed that patients with ADHD may have some functional impairments with some of the neurotransmitter (particularly dopamine) that plays a role in our ability to concentrate and focus. Thus, giving methylphenidate to these patients can stimulate their neurotransmitter in the brain resulting in improvement of their attention span leading to a positive outcome inside the classroom.

Nathen will visit the doctor’s office regularly in order to appropriately adjust the dosage of his medication to a healthy level with respect to the school’s psychologist report of his progress inside the classroom and in social settings amongst his peers. The doctor explains to Mr. Chawalit that while treatment will not completely cure ADHD, he hopes that with the right combination of medication and continued behavioral therapy, Nathen will continue to develop healthy social skills, self-control while build up his self-esteem in order to be successful moving forward to the next academic term.

Thai Version:

คุณชวลิตเป็นตำรวจจราจรประจำการในเมืองที่สวยแห่งหนึ่งในนิวซีแลนด์คือเมืองโรโตรัว (Rotorua) เขาและภรรยาคุณคิมเบอร์ลี่ทั้งสองคนเป็นผู้ปกครองของหนูน้อยที่มีพลังเยอะวัย 10 ขวบคือน้องเนธัน น้องเนธันมีความสามารถในการเล่นรักบี้เป็นอย่างมากและเล่นในรุ่นที่อายุไม่เกิน 11 ปี ซึ่งเล่นในตำแหน่ง inside center ซึ่งเป็นดาวเด่นในทีมอีกด้วย แต่ในเวลาเดียวกัน ในขณะเดียวกันผลการเรียนและผลของการปฏิสัมพันธ์ในสังคมกับเพื่อนร่วมชั้นเขาค่อนข้างบกพร่องจึงเป็นสิ่งที่คุณทั้งหลายต่างเป็นห่วงน้องเนธันกัน หลังจากคุณชวลิตได้เจอครูประจำชั้นและครูที่ปรึกษาและรับทราบเรื่องแล้ว จึงได้พาน้องเนธันไปพบคุณหมอด้านกุมารแพทย์เพื่อพาน้องเนธันเข้ารับการตรวจร่างกายและเข้ารับขอคำปรึกษาเพื่อที่ดูอาการและรับการรักษาต่อไป

คุณชวลิตได้เริ่มอธิบายให้คุณหมอฟังว่าลูกชายของเขาตั้งแต่เกิดมาน้องเนธันก็เป็นเด็กพลังเยอะ เขาชอบวิ่งไปวิ่งมาไม่เคยหยุดนิ่ง ซนตั้งแต่ตั้งเหยียบสวนดอกไม้ ปีนป่ายโต๊ะอาหารในห้องครัว (ซึ่งคุณแม่ต้องคอยจับตาดูน้องเนธันตลอดว่าจะปีนขึ้นโต๊ะอาหารหรือเปล่า) เด็กคนนี้ดูท่าทางไม่มีการเหนื่อยล้าจากการวิ่งเล่นไปมาซุกซนของเขาเหมือนคนแรงไม่ตก นอกจากนี้ทุกครั้งที่คุณชวลิตพยายามจะทำกิจกรรมที่สนุกๆและกิจกรรมที่กระตุ้นพัฒนาการของน้องเนธัน เช่นการอ่านนิทานเกี่ยวกับการผจญภัยให้น้องเนธันฟัง แต่เนธันดูเหมือนไม่ค่อยที่จะตั้งใจฟังและจำเนื้อเรื่องของนิทานไม่ได้ เขาบอกหมอว่าตอนแรกคิดว่าการมีวินัยของน้องเนธันในตัวน้องจะดีขึ้นตามอายุที่เขาโตขึ้นเรื่อยๆและน้องเนธันเพิ่งเริ่มเข้าโรงเรียนประจำที่ค่อนข้างดีระดับหนึ่ง ซึ่งสิ่งแวดล้อมที่มีระเบียบวินัยคงจะสอนให้น้องเนธันรู้จักควบคุมและยับยั้งใจชั่งในสิ่งที่เขาอยากจะทำ ซึ่งในเวลาเดียวก็จะเป็นการปลูกฝังให้น้องเนธันรู้จักการใช้พลังเยอะๆของน้องไปในทางที่ดี อย่างเช่น การเรียนรู้ที่จะให้น้องเนธันรู้ถึงความสำคัญกับเพื่อนที่ร่วมกันทำกิจกรรม เช่น การเข้าร่วมเล่นกีฬาอย่างๆหลาย เป็นต้น ณ ตอนนี้ น้องเนธันได้อยู่ในโรงเรียนประจำได้เกือบหนึ่งปีแล้ว แต่พฤติกรรมของน้องเนธันดูเหมือนจะไม่เปลี่ยนแปลงไปจากเดิม ซึ่งต่อมาคุณหมอได้ดูใบประเมินผลการเรียนรู้ที่ได้รับการรับรองจากคุณครูทุกท่านที่ได้สอนน้องเนธันซึ่งคุณชวลิตเอามาด้วยเพื่อให้คุณหมอได้ดูในการพบคุณหมอในครั้งนี้ด้วย สิ่งที่น่าสนใจคือคุณครูทุกท่านได้เห็นตรงกันว่าน้องเนธันมีพฤติกรรมที่ไม่สามารถที่จะสงบนิ่งได้แม้กระทั้งเวลาที่จะเริ่มเรียน ซึ่งคุณครูหลายท่านได้อธิบายต่อไปว่าเขามีอุปนิสัยที่ชัดๆเลย คือ อยู่ไม่เป็น ชอบขยับของไปมา เช่น เอานิ้วเคาะโต๊ะและนั่งไม่ติดเก้าอี้อยู่เฉยๆไม่ได้ทั้งชั่วโมงเรียน นอกจากนี้ น้องเนธันดูท่าทางเหมือนจะควบคุมตัวเองไม่ได้เพราะเขาเป็นคนที่ไม่สามารถรอคิวหรือลำดับที่ของตัวเองได้ สิ่งหนึ่งที่เกิดขึ้นบ่อยในห้องเรียนคือเวลาที่คุณครูถามคำถามกับนักเรียนคนอื่นๆแต่น้องเนธันชอบตอบก่อนแซงหน้าเพื่อน ซึ่งทำให้ขัดจังหวะการเรียนการสอนในห้องเรียนและขัดจังหวะกระบวนการคิดและสมาธิในการเรียนของเพื่อนๆร่วมชั้นอีกด้วย นอกเหนือจากนี้คุณครูที่สอนวิชาประวัติศาสตร์และภูมิศาสตร์ทั้งสองท่านเป็นห่วงน้องเนธันเป็นอย่างมากทั้งการเรียนและสุขภาวะของน้องเนธันกัน

ในการวัดผลประเมินของคุณครูทั้งสองได้เห็นตรงกันว่าน้องเนธันเป็นเด็กที่เสียสมาธิและวอกแวกง่าย ดูเหมือนว่าน้องเนธันจะไม่ค่อยฟังคำสั่งในห้องเรียนหรือแม้กระทั่งครูคุณที่ได้พูดตัวต่อตัวหรือให้คำสั่งกับน้องเนธันเพียงคนเดียวแต่ก็ไม่มีปฏิกกริยาที่ตอบกลับจากน้องเนธันว่ารับฟัง รู้เรื่องหรือเข้าใจเพียงสักนิดเดียว ซึ่งแน่นอนว่าการที่น้องเนธันขาดความสนใจและขาดความตั้งใจที่จะฟังคุณครูในห้องเรียนจึงทำให้น้องเนธันทำการบ้านไม่เสร็จหรือถ้าเสร็จก็ยังมีส่วนที่ผิดพลาดโดยพอประมาณ ในใบวัดประเมินผลด้านสังคมของน้องเนธัน โค้ชที่สอนรักบี้ของน้องเนธันชื่นชมว่าน้องเนธันเป็นนักกีฬาที่มีพรสวรรค์เป็นอย่างมาก โค้ชยังได้กล่าวต่อไปน้องเนธันเป็นนักกีฬารักบี้ที่เก่งที่สุดในโรงเรียนของรุ่นอายุไม่เกิน 11 ปี แต่อย่างไรก็ตามมีสิ่งหนึ่งที่ทำให้น้องเนธันไม่ได้เป็นกัปตันทีมเพราะน้องเนธันเป็นคนที่ทำงานกับเด็กนักกีฬาในทีมยากมาก โค้ชยังได้เขียนอธิบายต่อไปอีกว่าน้องเนธันยังมีอุปนิสัยที่ชอบคุยทับเพื่อนร่วมทีมและในช่วงที่มีการแข่งขันกับทีมอื่นๆรวมถึงช่วงฝึกซ้อม เวลาอยู่ในสนามน้องเนธันก็ชอบบอกให้เพื่อนๆที่ลงสนามด้วยกันให้ส่งลูกรักบี้มาให้เขาทันที จริงอยู่ที่ว่าน้องเนธันเป็นนักกีฬาที่มีพรสวรรค์สูงมาก แต่พฤติกรรมของน้องเนธันมันขัดกับจุดประสงค์ของคุณครูที่อยากจะให้นักกีฬาทุกคนมีความสนิทสนมกันและและเรียนรู้ที่จะทำงานเป็นทีมได้

อย่างที่เห็นได้ชัดเจน จาการอ่านใบวัดประเมินผลของน้องเนธัน คุณหมอรู้สึกได้อย่างชัดเจนเลยว่าสิ่งที่เขามีปัญหากับการเรียนเข้ากับเพื่อนไม่ได้ในห้องเรียนร่วมชั้นซึ่งเป็นสิ่งที่คุณครูทุกท่านเป็นกังวลเป็นที่สุด ในหน้าสุดท้ายของใบวัดฯ ที่อธิบายไว้เมื่อ 6 เดือนที่ผ่านว่าน้องเนธันได้รับความช่วยเหลือจากครูจิตวิทยาประจำโรงเรียนเพื่อที่ช่วยน้องเนธันในการเสริมทักษะทางสังคมและการควบคุมและยับยั้งชั่งใจในเวลาอยู่กับเพื่อนร่วมชั้นและคุณครูในโรงเรียน นอกจากนี้ ครูจิตวิทยาในโรงเรียนได้ให้น้องเนธันทำพฤติกรรมบำบัดพร้อมกับให้รับคำปรึกษาทุกสัปดาห์ในเวลาเดียวกันเพื่อลดอุปนิสัยวอกแวกของเขาอย่างง่าย ในขณะเดียวกันก็ใช้เทคนิคต่างๆพร้อมกันด้วยเพื่อที่จะช่วยให้เพิ่มความสนใจและสมาธิของเขาโดยหวังว่าจะลดความวอกแวกและการแทรกการขัดหวะเพื่อนๆในระหว่างเรียนและการทำกิจกรรมนอกหลักสูตรของเขาได้เช่นกัน ในใบวัดประเมินผลของน้องเนธันจากครูจิตวิทยาได้กล่าวไว้ตอนจบด้วยน้ำเสียงในแง่ดีว่าในการทำพฤติกรรมบำบัดต่อไปของน้องเนธันโดยเธอหวังไว้ว่าน้องเนธันจะมีพัฒนาการที่ดีขึ้นทั้งสังคมเพื่อนร่วมชั้นและมีความสัมพันธ์ที่ดีต่อเพื่อนร่วมงานของเขา เพื่อนร่วมกีฬาทีรักบี้ ตอนนี้คุณหมอได้ถามคำถามอย่างละเอียดเกี่ยวกับประวัติทางครอบครัว ทางสังคมและประวัติการเกิดของน้องเนธัน ซึ่งคุณหมอได้ทำการรวบรวมข้อมูลให้แคบลงเพื่อวินิจฉัยสิ่งที่เป็นไปได้ ตามที่คุณชวลิตได้บอกว่าน้องเนธันได้คลอดออกมาตอนอายุครรภ์ 39 สัปดาห์ (ครรภ์ครบกำหนดคลอด) โดยการคลอดธรรมชาติและไม่มีอาการอะไรแทรกซ้อน แล้วเขาได้อธิบายอีกว่าภรรยาของเขาคือคุณคิมไม่เคยสูบบุหรี่ ไม่ดื่มแอลกอฮอล์หรือใช้สารเสพติดแต่อย่างไร แต่เขาได้ยอมรับกับคุณหมอว่าตัวของเขาเองได้เป็นโรคพิษสุราเรื้อรังในสมัยหนุ่มๆ แค่ต้องขอบคุณกับการช่วยเหลือจากครอบครัวที่ได้ให้เข้ามาอมรมในกลุ่มผู้ติดสุราเรื้อรังนิรนามที่บ้านเกิดของเขาที่จังหวัดฉะเชิงเทราในประเทศไทยและก็ทำให้เขาสามารถเอาชนะโรคดังกล่าวและทำให้รู้จักการให้ความสำคัญของสุขภาพของตัวเองซึ่งก็ทำให้เขาได้พบกับคุณคิมภรรยาของเขาในตอนนั้น

คุณชวลิตได้อธิบายต่อไปว่าลูกชายของเขาไม่มีปัญหาด้านสุขภาพใดๆทั้งสิ้น ส่วนด้านโภชนาการาหารน้องเนธันก็ได้รับการรับประทานอาหารที่มีสารอาหารครบถ้วนและมีสมดุล (โภชนาการอาหารของโรงเรียนกินนอน) เมื่อถามว่าน้องเนธันกินลูกอมและขนมมากแค่ไหนในหนึ่งสัปดาห์ คุณชวลิตชี้แจงให้คุณหมอทราบว่าทางโรงเรียนจะแจกลูกอมและขนมทุกวันอังคารและวันพฤหัสบดีและในทุกวันอาทิตย์จะมีรถไอศกรีมมาที่โรงเรียนเพื่อฉลองสุดสัปดาห์ของนักเรียนรวมถึงแจกลูกอมและขนมเหมือนเดิมจากประวัติคนไข้ที่ได้รวบรวมมาทั้งหมดคุณหมอสรุปได้ข้างต้นว่า น้องเนธันอยู่ในครรภ์ตามกำหนดคลอดและใช้วิธีคลอดธรรมชาติ ซึ่งคุณหมอแล้วดูว่าไม่มีภาวะแทรกซ้อนที่จะก่อให้เกิดการคลอดก่อนกำหนดหรือความเสี่ยงในการบาดเจ็บของระบบประสาทในระหว่างทำการคลอดโดยทั้งสิ้นซึ่งมันเป็นกระบวนการที่ซับซ้อนพอสมควรเป็นสาเหตุโดยตรงที่ทำให้เกิดอาการและพฤติกรรมที่หลายๆคนกำลังเป็นห่วงและกังวลในตัวของน้องเนธัน (การใช้เครื่องมือ เช่น คีมในการช่วยทำคลอดอาจจะเป็นส่วนหนึ่งทำให้เกิดการบาดเจ็บทางระบบประสาท)

นอกจากนี้ แม่ของน้องเนธันคุณคิมไม่เคยดื่มเหล้าหรือเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ไม่เคยสูบบุหรี่หรือใช้สารเสพติดใดๆทั้งสิ้นซึ่งแน่นอนว่าระบบประสาทและพัฒนาการที่ล่าช้าของน้องเนธันไม่ได้เกิดจากการรับสารบางอย่างก่อนคลอด ซึ่งสุดท้ายเช่นเดียวกับน้องเนธันที่ได้รับจำนวนของขนมและลูกอมเท่ากับเพื่อนๆร่วมชั้นในโรงเรียนกินนอน (3 ครั้งต่อสัปดาห์) ซึ่งคุณหมอไม่ปักใจเชื่อว่าพฤติกรรมอยู่ไม่นิ่งของเขาเกิดจากการที่ได้รับน้ำตาลที่สูงในมื้ออาหารของเขาเพราะเพื่อนๆทุกคนก็ได้รับน้ำตาลในจำนวนเท่าๆกัน ต่อมา คุณหมอเลยมาตรวจร่างกายและคุณหมอได้สังเกตว่าน้องเนธันให้ความร่วมมือเป็นอย่างดีและพูดเก่งพูดฉะฉานตามปกติของเด็กวัย 10 ขวบ ส่วนผลการตรวจร่างกายโดยรวมทั้งเสียงของปอดและหัวใจอยู่ในเกณฑ์ปกติ นอกเหนือจากที่กล่าวมา การทำงานของเลือดของน้องเนธันจากผลตรวจสุขภาพประจำปีของเขา เคมีในเลือดอยู่ในเกณฑ์ปกติในช่วงอายุของเขารวมถึงระดับฮอร์โมนไทรอยด์เช่นกัน (หากฮอร์โมนไทรอยด์มากเกินไปในเด็กก็จะทำให้เด็กเกิดอาการหงุดหงิดฉุนเฉียวและกระวนกระวาย) ต่อมาผลการตรวจการได้ยินและวิสัยทัศน์ (การมองเห็น) ผลโดยเฉลี่ยอยู่ในเกณฑ์ปกติ การตรวจร่างกายโดยเฉพาะการได้ยินและวิสัยทัศน์ (การมองเห็น) เป็นสิ่งที่สำคัญอย่างมากเพราะอาจจะเป็นปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมได้ เช่น เกิดอุปสรรคในการใส่ใจในการเรียน เป็นต้น จากประวัติคนไข้ของน้องเนธันและผลการตรวจสุขภาพ คุณหมอสรุปได้ว่าพฤติกรรมของน้องเนธันไม่ได้เกี่ยวกับสุขภาพเพราะน้องเนธันมีการเจริญเติบโตตามวัยของเด็กอายุ 10 ขวบ อย่างไรก็ตาม น้องเนธันมีประวัติเรื่องในของพฤติกรรมที่มีปัญหาทั้งที่บ้านและโรงเรียนซึ่งทั้งเห็นจากใบวัดประเมินผลจากโรงเรียนและฟังจากคุณชวลิต ซึ่งพฤติกรรมของน้องเนธันดังกล่าวมีอาการหนักพอสมควรในการใช้ชีวิตประจำวันเป็นอย่างมากและคุณหมอได้ลงความเห็นว่าน้องเนธันเป็นโรคสมาธิสั้น หรือ ADHD

คุณหมอได้อธิบายให้คุณชวลิตฟังว่าโรคสมาธิสั้น เป็นโรคที่เด็กจะมีอาการไม่มีสมาธิ มีการสนใจในช่วงระยะสั้นๆและมีพฤติกรรมที่อยู่ไม่นิ่ง ลักษณะที่กล่าวมามีความรุนแรงจนเป็นอุปสรรคในการใช้ชีวิตประจำวันรวมถึงมีผลกระทบต่อการเรียนและมีผลกระทบต่อการเข้าสังคมกับเพื่อนๆ คุณหมอได้พูดต่อไปว่าการวินิจฉัยโรคสมาธิสั้นนี้ยากมากและการที่จะตรวจสุขภาพ ดูประวัติคนไข้เป็นสิ่งที่สำคัญเพื่อที่จะดูว่าคนไข้ไม่มีต้นเหตุของโรคมาจากทางกายภาพ (ไม่มีปัญหาจากโรคทางร่างกาย เช่น สายตาสั้น หูหนวก เส้นประสาทส่วนกลางมีปัญหา ฯลฯ) โดยทั่วไปคุณหมอจะวินิจฉัยโรคสมาธิสั้นตอนคนไข้มีลักษณะโรคดังกล่าวก่อนอายุ 12 ปีและจะมีพฤติกรรมหรืออาการของโรคสมาธิสั้นมากกว่า 6 เดือน นอกเหนือจากนี้ คนไข้ที่เป็นโรคสมาธิสั้นจะมีลักษณะของโรคสมาธิสั้นอย่าน้อย 2 ที่ได้แก่ ที่บ้านและที่โรงเรียนและมีความรุนแรงพอที่มีจะมีผลกระทบต่อการใช้ชีวิตประจำวันอีกด้วย

คุณหมอต้องการให้น้องเนธันรับคำปรึกษาจากครูจิตวิทยาที่โรงเรียนต่อไปและเน้นให้ความสนใจเป็นพิเศษเกี่ยวกับพฤติกรรมบำบัดและทักษะทางเข้าสังคม นอกเหนือจากที่กล่าวมา คุณหมออยากให้น้องเนธันลองทานยา metylphenidate (Ritalin) ซึ่งยาตัวนี้มีฤทธิ์ในการกระตุ้นสมองส่วนกลาง ซึ่งเชื่อว่าคนไข้ที่เป็นโรคสมาธิสั้นอาจจะมีปัญหาเกี่ยวกับการทำงานของสารสื่อประสาททำงานไม่เต็มที่ (โดยเฉพาะ dopamine) ซึ่งสารสื่อประสาทมีบทบาททำให้มีสมาธิและจดจ้องหรือมุ่งเน้นได้ เพราะฉะนั้นการให้ยา methylphenidate กับคนไข้จะทำให้เกิดการกระตุ้นสารสื่อประสาท ซึ่งการกระตุ้นดังกล่าวจะทำให้คนไข้มีสมาธิที่ดีขึ้นและจะเป็นผลดีต่อการเรียนอีกด้วยน้องเนธันจะกลับมาหาคุณหมอบ่อยๆเพื่อจะปรับขนาดของยาโดยการปรับขนาดของยาจะวัดผลจากใบวัดประเมินผลจากครูจิตวิทยาในโรงเรียนและความคืบหน้ามรการเรียนในห้องเรียนและความคืบหน้าในการอยู่กับเพื่อน คุณหมอได้อธิบายให้คุณชวลิตฟังว่าการรักษาที่กล่าวมานี้จะไม่ได้ทำให้คนไข้หายขาดจากโรคนี้แต่มันเป็นความหวังของคุณหมอว่าการให้ขนาดยาที่ถูกต้องรวมกับการทำพฤติกรรมบำบัดของคุณหมอจะทำให้น้องเนธันมีการเรียนรู้ในเรื่องการเข้าสังคมที่ดีขึ้น มีการของควบคุมตัวเองให้ดีขึ้น และสร้างความเชื่อมั่นในตัวเองให้ดีขึ้นเพื่อที่จะทำให้ตัวเองประสบผลสำเร็จในการเรียนในเทอมต่อไป

Author:

Share on FacebookTweet about this on TwitterShare on Google+Email this to someonePrint this page
 


Post a Comment

Your email address will not be published. Required fields are marked *

  • Top Posts Today

  • Tags

  • April 2025
    M T W T F S S
     123456
    78910111213
    14151617181920
    21222324252627
    282930  
  • Share on FacebookTweet about this on TwitterShare on Google+Email this to someonePrint this page
  • FOLLOW ME

  • Subscribe to Blog via Email

    Enter your email address to subscribe to this blog and receive notifications of new posts by email.