Complication of Diabetes and the Importance of Lifestyle Modifications - Chakriwat Medical Information Center

Health Begins with Awareness

Complication of Diabetes and the Importance of Lifestyle Modifications

A few posts back we discussed the essential issue of making necessary lifestyle modifications (such as diet and exercise) as the first step towards preventing diabetes.

According to the International Diabetes Federation more than 371 million people world wide are affected by diabetes, while 187 million of them are undiagnosed and are unaware they are living with diabetes.

With this statistic in mind, it is important to bring more attention to diabetes and its complications. Fortunately with proper care and education, people affected by this disease can live a healthy and comfortable life.

Diabetes mellitus is a metabolic disorder resulting in an individual having extremely high blood sugar level. There are two variations of diabetes, type 1 and type 2. In essence type 1 is inherited while type 2 is developed.

Type 1 is also known as “insulin dependant” diabetes. Patients with type 1 are usually young as the onset occurs during childhood. They are thin and usually do not respond to weight loss as a form of treatment. The pathology of type 1 diabetes is characterized by the damage of beta cells, a group of cells in the pancreas, through genetic mutation/autoimmune disorders, or as a result of there simply not being enough beta cells in an individual’s pancreas.

The function of beta cells is to secrete an important peptide hormone -- insulin. Some individuals lack the means of producing insulin. The vital role of insulin when secreted from the pancreas is to metabolize glucose in our blood, allowing important cells in our body to take up sugar from our blood stream. This in turn regulates our blood sugar level.

As mentioned in the previous post under the comment section, the treatment for individuals with type 1 diabetes would be simply to administer insulin. However it is up to the patient and their physician to come up with the most appropriate insulin regiment given the individual’s life style. The goal is to maintain a stable blood sugar and adhere to the treatment.

In contrast, being overweight is a big risk factor for diabetes type 2. Individuals with diabetes type 2 have normal beta cells in their pancreas and are able to secrete insulin normally, however due to weight gain and an unhealthy lifestyle, their cells are insensitive to insulin, resulting in glucose in their bloodstream, which is unable to be metabolized.

As mentioned in the previous post, maintaining a healthy diet and regular exercise is the best initial therapy for diabetes type 2. In fact in 25 percent of the patients, dieting and exercise alone are enough to control the disease without pharmacotherapy.

Complications from diabetes usually arise from poorly controlled blood sugar starting within the blood vessels, leading to damage of the vital systems (all complications arise from high blood sugar level). There are numerous complications from diabetes but here are some of the major ones:

Hypertension: with the high sugar in the bloodstream from the inability of glucose to be brought into the cells to be metabolized, individuals with diabetes tend to have higher blood pressure from the plaques that have built up in blood vessels. This can lead to complications such as atherosclerosis. It is recommended that blood pressure should be below 130/80 mmHg in individuals with diabetes mellitus.

Complications to the heart: angina/chest pain, heart attack – as a consequence from narrowing of the blood vessels from atherosclerosis which leads to inadequate blood/oxygen supply to the heart.

Eyes: diabetic retinopathy - blood vessels in the retina swell up because of high blood sugar. (A yearly eye exam is essential in individuals with diabetes.)

Kidneys: kidney failure due to interference of filtering system by damaged blood vessels.

Brain: stroke, both ischemic and hemorrhagic form

Nerve damage: as a result from sugar building up and causing nerve insensitivity (neuropathy). Common cases occur in the foot (lost of sensation) and stomach (bloating, fullness, constipation all due to inability for the nerve in the stomach to detect the stretching in the stomach.

Diabetes mellitus type 2 is absolutely something people can prevent by having a healthy and active lifestyle. In this TED Talk, Dr. Neal Barnard gives a new insightful dietary approach based on our physiological evolution, and shares ideas that he feels can prevent or even reverse some of the complications of diabetes mellitus.

Feature_Diabetes

Thai Version:

แปลบทความของนายแพทย์ Chakriwat Vivacharawongse

พวกเราได้พูดคุยถึงกับปรับเปลี่ยนการใช้ชีวิตประจำวันที่สามารถช่วยปัญหาสุขภาพ เช่น การปรับพฤติกรรมการกิน การออกกำลังกายซึ่งถือเป็นก้าวแรกของการป้องกันโรคเบาหวาน

องค์กรเบาหวานนานาชาติระบุว่าประชาชนกว่า 371 ล้านคนทั่วโลกได้รับผลกระทบจากโรคเบาหวาน และในขณะที่ 187 ล้านคนไม่ได้รับการวินิจฉัยและไม่รู้ตัวว่าตัวเองเป็นเบาหวาน

จากสถิตินี้นี่เอง ผมคิดว่ามันเป็นสิ่งสำคัญมากที่พวกเราต้องให้ความเอาใจใส่เกี่ยวกับโรคเบาหวานเพราะมันเป็นโรคที่ซับซ้อนพอสมควร ก็ยังถือว่าโชคดีถ้าหากคนมีความรู้เกี่ยวกับเบาหวานและมีการใช้ชีวิตที่ถูกสุขอนามัยก็จะมีสุขภาพดีและใช้ชีวิตอย่างสะดวกสบายไม่ต้องกังวลว่าจะเป็นเบาหวาน

โรคเบาหวานคือการผิดปกติของการเผาผลาญอาหารที่เป็นผลมาจากมีระดับน้ำตาลในเลือดสูง โรคเบาหวานมีสองชนิด คือ เบาหวานชนิดที่ 1 และ เบาหวานชนิดที่ 2 เบาหวานชนิดที่ 1 เกิดจากพันธุกรรม ส่วนชนิดที่สองเกิดขึ้นเอง แต่มีเหตุนะครับเช่น ความอ้วน และอายุเยอะ เราๆท่านๆมีสิทธิเป็นได้ทั้งนั้นถ้าดูแลตัวเองไม่ดี เบาหวานชนิดที่ 1 หรือเป็นที่รู้กันว่าเป็นชนิดพึ่งพาอินซูลิน( “สารอินซูลิน คือฮอร์โมนที่สร้างจากตับอ่อนทำหน้าที่เผาผลาญคาร์โบไฮเดรตและไขมันเปลี่ยนน้ำตาลในร่างกายไปเป็นไขมัน ถ้าตับอ่อนผลิตสารอินซูลินได้น้อยหรือไม่ได้เลยน้ำตาลก็จะตกค้างอยู่ที่กระแสเลือดทำให้ระดับน้ำตาลในเลือดสูงขึ้น”-NSTDA ) ผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่หนึ่งโดยทั่วไปแล้วจะอายุน้อยมักจะเกิดช่วงที่เป็นเด็ก คนที่เป็นจะผอมและน้ำหนักไม่ลดจาการรักษา สาเหตุของการเกิดโรคเบาหวานชนิดที่ 1 เกิดจากเซลล์เบต้าในตับอ่อนได้รับความเสียหาย การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม หรือไม่ก็เกิดจากการมีเบตาร์เซลล์ในตับอ่อนไม่เพียงพอ หน้าที่ของเซลล์เบต้าคือผลิตฮอร์โมนเปปไทด์หรืออินซูลิน ร่างกายของบางคนอาจจะผลิตอินซูลินได้น้อย บทบาทสำคัญของอินซูลินคือเผาผลาญน้ำตาลในระบบเลือดและให้เซลล์สำคัญในร่างกายของเราเอาน้ำตาลจากเลือดไปใช้ และมันก็ยังควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดอีกด้วย ตามที่ได้กล่าวมาบ้างแล้วจากบทความก่อนหน้านี่ที่ผมได้เขียนในส่วนของช่องแสดงความเห็นนั้น การรักษาผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 1 ทำได้โดยการจัดการกับระบบอินซูลิน อย่างไรก็ตามแต่ขึ้นอยู่กับตัวของผู้ป่วยและแพทย์ผู้ทำการรักษาว่าจะทำอย่างไรกับอินซูลิน จุดหมายหลักๆเลยคือทำให้ระบบน้ำตาลในเลือดเสถียร

ในทางตรงกันข้ามการที่มีน้ำหนักมากเกินไปก็เสี่ยงต่อการป่วยเป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ได้ เช่นกัน ผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 มีเบตาร์เซลล์ปกติในตับอ่อนและสามารถผลิตอินซูลินได้ตามปกติ แต่ว่าน้ำหนักตัวที่มากเกินไปและการใช้ชีวิตที่ไม่ถูกสุขลักษณะนี้เอง เซลล์ในร่างกายไม่ตอบสนองต่ออินซูลิน กลูโคลสในกระแสเลือด ส่งผลให้ไม่สามารถเผาผลาญได้

ตามที่เคยได้พูดถึงในบทความก่อนหน้านี้เช่นกันว่าการรับประทานอาหารที่ดีต่อสุขภาพ และการออกกำลังเป็นวิธีที่ดีที่สุดในการรักษาโรคเบาหวานชนิดที่ 2 แต่ว่าก็ยังมี 25 เปอร์เซนต์ของผู้ป่วยที่ควบคุมการกิน และออกกำลังอย่างเดียวอาจไม่เพียงพอในการควบคุมโรคนี้ถ้าไม่ใช้ยารักษา

อาการแซกซ้อนของโรคเบาหวานเกิดจากการควบคุมน้ำตาลในเลือดไม่ดีนักและเกิดภายในหลอดเลือดเป็นเหตุให้เกิดระบบสำคัญๆเสียหาย (อาการแทรกซ้อนเกิดจากระดับน้ำตาลในเลือดสูง) อาการแทรกซ้อนมีหลายอย่างทแต่หลักก็มีดังนี้ ความดันโลหิตสูง ด้วยเหตุที่มีน้ำตาลในเลือดสูงอันเนื่องมาจากไม่สามารถเอากลูโคลสเข้าไปในเซลล์เพื่อเผาผลาญได้ ผู้ป่วยบางรายมีแนวโน้มจะมีความดันเลือดสูงจากหินปูนที่สร้างขึ้นมาในหลอดเลือด นี่อาจนำไปสู่อาการแทรกซ้อนที่ตามมาเช่น หลอดเลือดตีบ สำหรับผู้ป่วยเบาหวานแล้วนั้นถ้าจะให้ดีความดันเลือดควรจะต่ำกว่า 130/80 mmHg

อาการแทรกซ้อนต่อหัวใจ อาการเจ็บหน้าอก หัวใจขาดเลือดเฉียบพลันสืบเนื่องมาจากหลอดเลือดแคบโรคหลอดเลือดตีบ ทำให้เลือดและออกซิเจนไปเลี้ยงหัวใจไม่พอ

อาการแทรกซ้อนทางตา เบาหวานขึ้นจอตา หลอดเลือดในตาขยายตัวเพราะมีน้ำตาลในเลือดสูง (ผู้ป่วยเบาหวานควรไปตรวจสายตาทุกปี) อาการแทรกซ้อนทางไต การทำงานของไตล้มเหลวเนื่องมาจากหลอดเลือดได้รับความเสียหาย อาการแทรกซ้อนทางสมอง สมองเป็นอัมพาต สมองขาดเลือด หรือเลือดออกในสมอง

ระบบประสาทถูกทำลาย เนื่องมาจากน้ำตาลที่ถูกสร้างขึ้นมาส่งผลให้ระบบประสาทไม่ไวต่อการตอบสนอง โดยมากแล้วเกิดที่เท้า เท้าของผู้ป่วยจะไม่มีความรู้สึก ท้องอืด ท้องเฟ้อ ขับถ่ายยากเพราะระบบประสาสาทที่ท้องไม่ตอบสนองต่อการยืดตัวของท้อง โรคเบาหวานประเภทที่ 2 นี้สามารถป้องกันได้ถ้าหากมีการใช้ชีวิตและทานอาหารที่ถูกสุขลักษณะ ใน TED talk นายแพทย์ Neal Barnard ได้บรรยายถึงการรับประทานอาการตามวิวัฒนาร่างกายที่ของเราออกแบบมา นายแพทย์นีลกล่าวว่า ร่างกายของเราไม่ได้ออกแบบมาเพื่อกินเนื้อสัตว์ นอกจากนี้นายแพทย์นีลยังได้แบ่งปันความคิดเห็นว่าโรคเบาหวานสามารถป้องกันได้

Author:

Share on FacebookTweet about this on TwitterShare on Google+Email this to someonePrint this page
 


Post a Comment

Your email address will not be published. Required fields are marked *

  • Top Posts Today

  • Tags

  • April 2025
    M T W T F S S
     123456
    78910111213
    14151617181920
    21222324252627
    282930  
  • Share on FacebookTweet about this on TwitterShare on Google+Email this to someonePrint this page
  • FOLLOW ME

  • Subscribe to Blog via Email

    Enter your email address to subscribe to this blog and receive notifications of new posts by email.