Osteoarthritis - Chakriwat Medical Information Center

Health Begins with Awareness

Osteoarthritis

Let’s have a look at a scenario:

Mrs. Weelai is a sixty-six-year-old woman who visits her primary care doctor complaining of pain in both of her knees. She further explains that she started experiencing minor pain about ten years ago but over the years the pain has become unbearable. Today she came into the office at the urging of her daughter.

Her doctor obtains Mrs. Weelai’s medical history. She goes on to explain that she is a proud owner of a popular Japanese restaurant situated in the town area. Even though recently she has slowed down and handed her manager role to her daughter, her knees have become too bothersome for her to move around. She is still present everyday at her restaurant sampling new delicious dishes created by the head chef. She immediately acknowledges that this is definitely not a healthy lifestyle for her as she is overweight and has diabetes type 2, currently taking metformin to control her blood sugar level.

Mrs. Weelai shows great understanding of her health issues and desperately wants to escape her sedentary lifestyle. She has tried walking for weight reduction but the pain in her knees becomes unbearable after a few steps. Her doctor asks further about the pain with some simple open-ended questions: Describe your pain? On a scale of 1-10 with 10 being the worst, how would you rate your pain at the moment? What makes the pain worse and what makes the pain better? Does the pain radiate/travel to other parts of the body? Do you experience any stiffness in your knees in the morning, if so for how long?

Mrs. Weelai promptly describes the pain in her knees as a dull sensation, remaining in her knees without traveling to her legs or any other parts of her body. She rates her pain as a 5 out of 10 while in the office but when she walks for more than ten minutes her pain rises to a 10 out of 10, and that only by resting and sitting seems to be the only way of alleviating the pain. She smiles and acknowledges that every morning when she wakes up she dreads the feeling of stiffness in her knees but thankfully it only lasts about fifteen minutes. (In another type of arthritis, rheumatoid arthritis, morning stiffness lasts over one hour.)

During physical examination Mrs. Weelai is observed to be an obese sixty-six-year-old highly cooperative woman with a pleasant demeanor. Minimal swelling is immediately noted on both of her knees. Her knee-jerk reflex appears to be normal bilaterally on stimulation with a reflex hammer, indicating no nerve damage but perhaps structural damage. (Her normal reflex here suggests that her spinal nerves are normally functioning, therefore her injury is more likely structural damage.) However, when her doctor passively moves her legs at the knee joint he can distinctively hear clicking and grinding sounds with limited range of motion. When asked to walk for a few steps, Mrs. Weelai walks with a slight limp and short steps. She admits that walking with short steps is less painful on her knees than taking longer strides. (Here she is doing this in order to minimize the weight she puts on her knees.)

At the end of the physical examination, her doctor shares with her that based on her medical history coupled with the physical examination, he suspects that she is suffering from osteoarthritis. He goes on to explain that osteoarthritis is by far the most common type of degenerative joint disease worldwide, affecting an estimated six hundred and thirty million individuals around the world. The pathology of this disease is simply slow erosion of the articulate cartilage on the surface of the connecting joints. Eventually patients begin to experience symptoms when the cartilage between the two joints is heavily damaged and the two adjacent bones begin to rub together when the patient moves around. Her doctor continues to explain to her that osteoarthritis usually affects weight-bearing joints such as: the knees, the hip, ankles, spine, and the fingers of the hands. Patients usually fall into three categories: old age (from the wear and tear of cartilage around the joints), trauma (contact sport or work injury), and last but not least, obesity (the patient’s own weight causing damage to the articular cartilage).

Even though her doctor is almost certainly one hundred percent sure that Mrs. Weelai suffers from osteoarthritis, he orders an x-ray of her knees to get an image confirmation of osteoarthritis. Furthermore, he also orders a blood draw of ESR and rheumatoid factor to rule out another type of arthritis termed rheumatoid arthritis.

Her doctor counsels her about the importance of weight loss to relieve the pressure of weight on her knees. He suggests to her non-weight bearing exercises such as hydrotherapy: walking in the swimming pool, yoga, and Tai chi. In addition to these activities, (which will help reduce weight as well as help regain mobility in the knee joints), her doctor also refers her to physical therapy twice weekly to closely monitor the progress in her knees. He also prescribes acetaminophen for her to take orally for occasional pain that she may experience.

The next day Mrs. Weelai arrives to the office to see the result of her blood work and the X-ray of her knees. Both the ESR and rheumatoid factor in her blood work appears negative as expected therefore ruling out rheumatoid arthritis. Her doctor points out minimal osteophytes (outgrowth of bone along edges of bone) in the X-ray as well as how her joint space has become narrow. This confirms the diagnosis of osteoarthritis. Mrs. Weelai expresses her excitement of the treatment plan and vows to work hard to regain her mobility again so that she can once again be a passionate and an active owner of her restaurant. She smiles and jokes that she will do everything in her power to get better because she does not want to have a knee replacement surgery! She looks forward to seeing her doctor on the follow-up visit.

12169601_386360301574467_581368048_o

Thai Version: ผมขอเชิญให้ท่านดูตัวอย่างดังต่อไปนี้

คุณวิไลเป็นผู้หญิงอายุ 66 ปี เธอได้ไปหาหมอประจำของเธอ เธอบ่นเรื่องความเจ็บปวดใน หัวเข่าของเธอทั้งสองข้าง เธอได้อธิบายต่อว่า เธอเริ่มมีอาการเจ็บปวดเล็กน้อยเมี่อ 10 ปีก่อนนี้ แต่เมื่อเร็วๆนี้ความเจ็บปวดของเธอเริ่มมีอาการเจ็บปวดมากขึ้นซะจนทนไม่ไหว วันนี้เธอมาหาคุณหมออีกครั้งเพราะลูกสาวเป็นห่วงจึงขอร้องให้คุณแม่ มาพบคุณหมอ คุณหมอจึงถามอาการของคุณวิไล คุณวิไลได้ อธิบายว่าเธอมีความภูมิใจที่เธอเป็นเจ้าของกิจการ ร้านอาหารญีปุ่นที่มีชื่อเสียงในเมื่อง แม้แต่ว่าขณะนี้เธอได้ทำงานเบาลงและได้มอบ ตำแห่นงผู้จัดการให้ลูกสาวแล้ว เธอได้มีความรู้สึกลำคาญหัวเข่าของเธอมากขึ้นในการขยับขเยื่อน แต่ทุกวันนี้เธอก็ยังไปร้านอาหารอยู่ทุกวัน และเธอยังได้ชิมอาหารอร่อยๆที่มีหัวหน้ากุ๊กทำขึ้นมา แต่เธอยังมีความคิดว่าสิ่งนี้ไม่ไช่วิถีชีวิตที่ถูกและดีต่อสุขภาพของเธอเพราะเธอมีนํ้า หนักตัวมากและยังเป็นเบาหวานประเถท 2 อีกด้วยในเวลาเดียวกันเธอได้ทานยา Metfarmin เพื่อคอยควบคุมระดับนํ้าตาลในเลื่อดอีกด้วย คุณวิไลได้แสดงความเข้าใจใน ปัญหาเรื่องสุขภาพของเธอและมีการกระตือรือร้น ที่จะหลุดพ้นจากการใช้ชีวิตอย่างเฉื่อยชาอีกต่อไป เธอได้พยายามเดินเพื่อลดนํ้าหนักแต่เป็นเพราะเข่าของเธอมีอาการเจ็บปวดมากจน ทนไม่ไหวหลังจากเดินไม่กี่ก้าว หมอจึงถามคำถามหลายๆ คำถามและให้เธอบอกถึงอาการเจ็บจาก1 ถึง10ความแย่และเจ็บสุดขณะนี้อยู่ตรงระ ดับไหนและท่าอะไรที่ทำให้ความเจ็บปวดมีมากขึ้นและท่าอะไรที่ทำให้ทุเลาความเจ็บลงและความเจ็บปวดได้ลามไปส่วนอื่นของร่างกายหรือไม่และคุณมีอาการตึงหรือชา ในตอนเช้าหรือเปล่าและนานมั้ย คุณวิลัยอธิบายทันทีว่าความเจ็บปวดในเข่าของเธอมีความเจ็บปวดทื่อๆและจะเจ็บ แค่บริเวณนั้นไม่รามไปที่อื่น และขณะที่นั่งอยู่กับคุณหมอนี้ความเจ็บอยู่ในระดับ5เต็ม10แต่ถ้าลุกขึ้นเดินมากกว่า 10นาทีจะมีความเจ็บมากถึง10เต็ม10 การที่ได้นั่งพักจะเป็นการบันเทาความเจ็บได้ เธอได้มีอาการเจ็บและตึงเข่ามากในตอนเช้า มันทำให้เธอเบื่อในเวลาเช้ามากแต่ยังดีที่มีอาการแค่ 15 นาที (แต่ถ้า arthritis อีกประเภทหนึ่งจะมีชื่อ Rheumatoid arthritis เพราะถ้า Rheumatoid นั้นความ เจ็บและตึงในตอนเช้าจะมีมากกว่า1ชั่วโมงขึ้นไป) ในขณะตรวจร่างกายคุณวิไลแม้แต่เธอจะมีอายุ66ปีและมีโรคอ้วนแต่เธอก็ยังเป็นคนมี อัธยาศัยที่ดีและมีความกระตือรือร้นและให้ความร่วมมือกับคุณหมอเป็นอย่างดี คุณหมอได้เห็นทันทีว่าเข่า2ข้างของเธอมีความบวมเล็กน้อยและเมื่อตรวจเข่าเธอมี การตอบสนองปกติทั้งสองข้างจึง ทำให้เห็นว่าไม่มีความชำรุดทางเส็นประสาท จากกระดูกสันหลังที่ลงมาที่ขาจึงยังทำให้ใช้งาน ได้เป็นปกติ แต่ขณะทีคุณหมอกำลังขยับขาของเธอ เบาๆจากใต้หัวเข่าคุณหมอได้ยินเสียงกรอบแกลบ เหมือนกระดูกสีกันเล็กน้อยจากการขยับคุณหมอจึงขอให้เธอลองเดินให้ดู เธอได้เดินไม่กี่ก้าวคุณหมอ ก็เห็นคุณวิไลมีอาการกระเผลกเล็กน้อยและฝีก้าวของเธอสั้นมาก เธอยอมรับว่าถ้าเธอเดินฝีก้าวสั้นจะไม่เจ็บมากเท่ากับใช้ฝีเท้าที่ก้าวยาว(และทำเช่นนี้เพื่อเธอจะได้ไม่เอานํ้าหนักมาลงในเข่าของเธอมากเกินไป) เมื่อตรวจร่างกายเสร็จคุณหมอได้บอกเธอว่าดู ประวัตการแพทย์ของเธอและที่ได้ตรวจในวันนี้ คุณหมอคิดว่าเธอเป็นโรค osteoarthritis คุณหมอได้อธิบายถึงโรค osteoarthritis ว่าเป็นโรคที่มีคนเป็นแยะเป็นความเสื่อมของข้อต่อ และมี630ล้านคนในโลกที่เป็นโรคนี้ เป็นอาการสึกหลอของไขข้อ ชำรุดจึง ทำให้กระดูกมาสีกันโดนเฉพราะเวลาคนขยับร่างกาย คุณหมอยังอธิบายต่ออีกว่า osteoarthritis ส่วนมากมีผลกระทบมาจากไขข้อที่รับนํ้าหนักมากอย่างเช่น ข้อต่อที่เข่า,สะโพก,ข้อเท้า,กระดูกสันหลัง และ นิ้วมือ คนไข้ที่เป็นจะมี3กรณีเช่น
  1. ความชรา (การสึกหลอของกระดูกอ่อนในข้อต่อ)
  2. อุบัติเหตุ (การเล่นกีฬา หรือการบาดเจ็บ)
  3. คนที่เป็นโรคอ้วน (น้ำหนักตัวมากทำให้ข้อต่อชำรุด)
แม้คุณหมอจะมั่นใจ100%ว่าคุณวิไลเป็น Osteoarthritis แต่คุณหมอก็ยังสั่ง X-ray หัวเข่า ของเธอเพื่อจะได้แน่ใจ นอกจากนี้เขายังสั่ง เจาะเลือดเพื่อจะเช็ค ESRและ Rheumatoid factor เพื่อจะให้แน่ชัดว่าเธอไม่ใด้เป็น arthritis ชนิดอื่นเช่น rheumatoid arthritis คุณหมอชี้แนะในความสำคัญในเรื่อง นํ้าหนักเพื่อที่จะลดนํ้าหนักที่กดลงมาที่หัวเข่าของเธอ คุณหมอจึงแนะนำการออกกำลังกายที่ไม่ลงนํ้าหนักที่ไปที่เข่ามากคือ hydrotherapy หรือออกกำลังในนํ้า, เดินในนํ้า,โยคะ,ไทชี นอกจากนี้ซึ่งจะช่วยคุณวิไลในกาลลดน้ำหนักและเพิ่มความเครื่อนไหวในไขข้อของ เข่า คุณหมอยังได้แนะนำให้เธอทำกายภาพบำบัด 2ครั้งต่ออาทิตย์ เพื่อดูการคืบหน้า ของเข่าของเธอ คุณหมอได้สั่งยา acetaminophen ให้เธอได้รับประทานในเวลาเจ็บปวด วันต่อมาคุณวิไลได้กลับมาหาคุณหมอเพื่อรับฟัง ผลเลือดและผล X-ray ของเธอ ESR และ rheumatoid factor ดูปกติให้เห็นว่าเธอไม่ได้เป็น rheumatoid arthritis คุณหมอได้ชี้ให้เธอดูว่าเธอมีกระดูกงอก osteophytes เล็กน้อยในบริเวณข้อต่อและข้อต่อดูแคบลง ซึ่งทำให้เห็นชัดเจนว่าเป็นประเภท osteoarthritis คุณวิไลมีความกระตือรือร้นในแผนการในการรักษาของเธอและเธอยื่นยันว่าเธอจะทำงานหนัก เพื่อเธอจะได้เครื่อนไหวและแข็งแรงอีกครั้งหนึ่ง เพื่อเธอจะได้มีความมุ่งมั่นทุ่มเทกับการทำร้านอาหารของเธออย่างเต็มที่อีกครั้งกหนึ่ง เธอจะทำทุกวิถีทางเพราะเธอไม่อยากจะผ่าตัด หัวเข่าเปลี่ยนข้อเทียมเธอจึงยิ้มและหัวเราะ เธอดีใจที่จะกลับมาพบหมออีกครั้งเมื่อถึงเวลา นัดครั้งหน้า

Osteoarthritis EngOsteoarthritis Thai

Author:

Share on FacebookTweet about this on TwitterShare on Google+Email this to someonePrint this page
 


Post a Comment

Your email address will not be published. Required fields are marked *

  • Top Posts Today

  • Tags

  • April 2025
    M T W T F S S
     123456
    78910111213
    14151617181920
    21222324252627
    282930  
  • Share on FacebookTweet about this on TwitterShare on Google+Email this to someonePrint this page
  • FOLLOW ME

  • Subscribe to Blog via Email

    Enter your email address to subscribe to this blog and receive notifications of new posts by email.