Snoring and Sleep Apnea - Chakriwat Medical Information Center

Health Begins with Awareness

Snoring and Sleep Apnea

Are you having trouble sleeping at night due to loud snoring of a roommate or a family member? Have you found yourself courteously waking them up with the intention of easing their snoring just to hear them minutes later shaking the whole building with the sound of their thunderous snore? Brontide snores are not pleasant for anyone, and while snoring might seem like a simple nuisance, an even more serious condition might be present. Unchecked complications can occur so a visit to your primary care provider is a must!

It is possible that the loud snorer and disturber of peaceful night sleep could have a potentially serious condition known as sleep apnea. It is estimated that sleep apnea affects more than 100 million people worldwide, while approximately 80 percent go undiagnosed.

There are two types of sleep apnea: central sleep apnea and obstructive sleep apnea. While in both types there is difficulty breathing while sleeping (resulting in not enough oxygen being taken into our system while carbon dioxide continues to build up in our body), the two types have different causes.

The less frequent type of sleep apnea is called “central sleep apnea”. This type of sleep apnea is categorized as a central nervous system issue in the sense that the brain experiences decreased respiratory drive during the sleep cycle.

The second type of sleep apnea, “obstructive sleep apnea” represents the majority of sleep apnea cases (ninety-five percent of the case). Patients usually present as overweight individuals who experience frequent complaints of excessively loud snoring from their roommates or family members.

The cause for loud snoring is the patient’s excess weight compressing down on the chest cavity. The fat tissues around the neck squeeze the trachea (the breathing tube), in turn interrupting normal breathing patterns. The patient will complain of excessive daytime sleepiness, headaches, impaired memory/judgment, and even depression. These symptoms may be attributed to the disruption of equilibrium in the body (due to build up of carbon dioxide from inadequate gas exchange during sleep).

As breathing is inadequate at night, this leads to decreased oxygen and an increase in carbon dioxide due to hypoventilation (shallow breathing which is inadequate for gas exchange). The increase in carbon dioxide places the body in a state known as “respiratory acidosis”, which leads to a physiological response from our kidneys by releasing more bicarbonate in an attempt to return our body to a neutral state.

Simply put, sleep apnea not only decreases oxygen supply to important systems, including the brain, but also places tremendous strain on our body in an attempt to compensate for the imbalance.

Once the patient consults the caregiver about the loud snoring and symptoms of sleep apnea, the patient will be sent to a sleeping lab for an accurate diagnosis of sleep apnea. There, the patient will undergo a sleep study called “polysomnography” where biophysiological changes will be recorded and analyzed during sleep. A diagnosis of severe sleep apnea is confirmed when a patient experiences more than thirty periods of apnea (the suspension of breathing) lasting more than ten seconds each in one night of sleep.

Since obstructive sleep apnea occurs mostly due to being over weight, the initial treatment is simply to adopt a healthy diet and incorporate more physical activity into the daily routine in an attempt to shed off weight. Episodes of obstructive sleep apnea will decrease at night once the excess weight pressing down on the respiratory system is removed. In addition to weight loss, a machine called CPAP (continuous positive airway pressure) is used to help in keeping the airway open at night ensuring that adequate ventilation occurs while sleeping.

In addition to weight loss, avoiding alcohol especially near bedtime is essential. Alcohol is a form of depressant that has the ability to decrease our respiratory drive. If all of these interventions fail, surgery to resect (cut) part of the uvula, palate, and pharynx can be performed to widen the airway, ensuring adequate ventilation.

Without treatment, the lack of oxygen and build up of carbon dioxide in the system caused by sleep apnea increases health risks such as: high blood pressure, heart attack, and stroke, amongst some of the many serious complications.

I wish everyone a peaceful and healthy sleep _/|\_

sleepapnea-eng

Thai Version:

แปลจากบทความของนายแพทย์ Chakriwat Vivacharawongse

คุณมีปัญหาเรื่องการนอนหลับเพราะว่าสมาชิกในครอบครัวหรือคนที่พักด้วยกันมีอาการนอนกรนหรือเปล่า เคยไหมที่คุณปลุกคนที่นอนกรนอยู่เพื่อให้เขาหยุดกรนและแล้วเขาก็กรนอีกในไม่กี่วินาทีให้หลัง เสียงกรนนั้นดังเหมือนว่าจะทำให้ตึกทั้งตึกสั่น เสียงของคนนอนกรนนั้นไม่เคยปราณีเคยใครเลย การกรนของคนดูเหมือนว่าจะมีอะไรไปมากกว่านี้ แต่ถ้าหากไม่ได้รับการตรวจรักษา อาจจะทำให้มีอาการแทรกซ้อนเกิดขึ้น เพราะฉะนั้นการไปพบแพทย์ จึงเป็นสิ่งที่จำเป็นอย่างยิ่ง

มันเป็นไปได้ที่ผู้ที่นอนกรนเสียงดังและผู้ที่รบกวนคืนอันสงบสุขอาจมีอาการรุนแรงที่เรียกว่าการผิดปกติของการนอน โดยปกติแล้วโรคผิดปกติของการนอน เกิดขึ้นกับคน 100ล้านคนทั่วโลกในขณะที่อีก80เปอร์เซ็นต์ ไม่ได้รับการตรวจวินิจฉัย

อาการผิดปกติของการนอน มีสองประแภท คือชนิดเกิดจากความผิดปกติของสมองส่วนกลาง (central sleep apnea) และ ชนิดเกิดจากมีการอุดกั้นทางเดินหายใจ(obstruction sleep apnea) อาการของสองโรคนี้ คือการมีความยากลำบากในการหายใขขณะนอนหลับ(มีออกซิเจนไม่พอแต่มีคาร์บอนไดออกไซด์ในระบบหายใจเพิ่มขึ้น)สองโรคนี้เกิดจากสาเหตุที่ต่างกัน ที่พบได้ไม่บ่อยนักคือโรค central sleep apnea เป็นผลจากการที่สมองไม่ส่งสัญญาณประสาทไปยังกล้ามเนื้อเพื่อให้เกิดการเริ่มหายใจ ปะเภทที่สอง ชนิดเกิดจากมีการอุดกั้นทางเดินหายใจ (obstruction sleep apnea) อาการนอนหลับประเภทนี้มีผู้เป็นมากถึง95เปอร์เซ็นต์ ผู้ป่วยมักจะมีน้ำหนักเกินมาตรฐานและโดยมากกว่าแล้ว พวกเขามัจะได้รับการต่อว่าจากสมาชิกหรือคนที่อาศัยอยู่ด้วยกัน ว่านอนกรนเสียงดัง

สาเหตุของการนอนกรนเสียงดังมาจาก น้ำหนักของผู้ป่วยกดไปที่ช่องว่างในหน้าอก เนื้อเยื่อไขมันรอบๆคอบีบตัว หลอดลมที่ใช้สำหรับหายใจเป็นผลให้เกิดการรบกวนกระบวนการหายใจ ซึ่งเป็นสาเหตุให้ผู้ป่วยง่วงในตอนกลางวัน มีอาการปวดศรีษะ ความจำไม่ค่อยดี การตัดสินใจไม่มีประสิทธิภาพและอาจเป็นโรคซึมเศร้าได้ด้วย อาการเหล่านี้อาจนำไปสู่การรบกวนความสมดุลของร่างกาย

การหายใจที่บกพร่องในตอนกลางคืนทำให้ผู้ป่วยได้รับออกซิเจนน้อยลงและมีคาร์บอนไดออกไซด์มากขึ้น เนื่องมาจากการแลกเปลี่ยนก๊าซในระบบการหายใจมีปัญหาก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ที่เพิ่มขึ้นในร่างกาย โดยทั่วไปเรียกว่า “respiratory acidosis” หรือ ความผิดปกติที่เกิดเนื่องจากมีกรดในเลือดเพิ่มขึ้น ทำให้ร่างกายของเราตอบสนองปฎิกริยานี้โดย ทำให้ไตหลั่งสารไบคาร์บอเนตมากขึ้นเพื่อทำให้ร่างกายกลับสู่ภาวะปกติ

กล่าวโดยง่ายๆการผิดปกติของการนอนไม่เพียงแต่จะทำให้ออกซิเจนไปเลี้ยงระบบต่างๆในร่างายและสมองน้อยลงแต่มันยังทำให้ร่างกายตึงเครียดอย่างมากเพื่อที่จะชดเชยภาวะไม่สมดุล เมื่อผู้ป่วยปรึกษาแพทย์เกี่ยวกับการกรนเสียงดังและอาการที่เกิดอาการผิดปกติของการนอนหลับ ผู้ป่วยจะถูกส่งไปเพื่อรับการตรวจวินิจฉัยโรคนี้จะต้องถูกส่งตัวไปห้องทดลอง และที่ห้องทดลองนี้จะมีผู้ที่เข้ามาศึกษาการนอนกลับของผู้ป่วยโดยใช้ “polysomonography” หรือ การแปลผลการตรวจการนอนหลับ เพื่อที่จะทำการบันทึกและวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงของร่างกายระหว่างเวลาที่ผู้ป่วยนอนหลับ ผลการวินิจฉัยของผู้ป่วยที่มีอาการนอนหลับผิดปกติอย่างรุนแรง จะได้รับการยืนยันก็ต่อเมือผู้ป่วยมีประสบการณ์การหายใจที่ลำบากสามสิบรอบ ซึ่งในแต่ละรอบใช้เวลามากกว่าสิบวินาที ต่อครั้งในแต่ละคืน เนื่องจากชนิดเกิดจากมีการอุดกั้นทางเดินหายใจ( obstruction sleep apnea) เกิดขึ้นกับผู้ป่วยที่มีน้ำหนักเกินเสียส่วนใหญ่ การรักษาโดยเริ่มต้นนั้นง่ายมาก คือทำได้โดยการลดน้ำหนัก อาการเหล่านี้ก็จะลดลง ตอนกลางคืนเมื่อน้ำหนักที่ไปกดทับระบบการหายใจลดลง นอกจากการลดน้ำหนักแล้วการใช้เครื่อง การใช้เครื่องช่วยสร้างแรงดันบวกในทางเดินหายใจ (CPAP) จะใช้ช่วยขยายทางเดินหายใจส่วนต้นในระหว่างการนอน นอกจากการลดน้ำหนักแล้วผู้ป่วยควรหลีกเลี่ยงการดื่มแอลกอฮอล์ โดยเฉพาะเวลาก่อนนอนนั้นสำคัญมากเพราะแอลกอฮอล์นั้นจะทำให้ความสามารถในการหายใจลดลง ถ้าหากการลดน้ำหนัก

การหลีกเลี่ยงแอลกอฮอล์ ไม่ได้ช่วยทำให้อาการนอนกรนหายไป การผ่าตัดส่วนของลิ้นไก่ เพดาน และคอหอย สามารถช่วยทำให้ทางเดินหายใจขยายใหญ่ขึ้น ซึ่งจะทำให้ปริมาตรอากาศผ่านเข้าออกปอดได้อย่างพอเหมาะ

หากผู้ป่วยที่ไม่ได้รับการรักษานั้น มีออกซิเจนไม่เพียงพอและการเพิ่มขึ้นของคาร์บอนไดออกไซด์ในระบบหายใจซึ่งเกิดจากการผิดปกติในการนอนหลับอาจะเป็นสาเหตุทำให้เกิด ความดันโลหิตสูง หัวใจหยุดเต้น และภาวะสมองขาดเลือด และอาจมีอาการแทรกซ้อนอื่นๆอีกมากมาย

ผมหวังว่าทุกท่านจะหลับสงบสบายและมีสุขภาวะในการนอนหลับที่ดีกันนะครับ

sleep-apnea-thai

Author:

Share on FacebookTweet about this on TwitterShare on Google+Email this to someonePrint this page
 


Post a Comment

Your email address will not be published. Required fields are marked *

  • Top Posts Today

  • Tags

  • April 2025
    M T W T F S S
     123456
    78910111213
    14151617181920
    21222324252627
    282930  
  • Share on FacebookTweet about this on TwitterShare on Google+Email this to someonePrint this page
  • FOLLOW ME

  • Subscribe to Blog via Email

    Enter your email address to subscribe to this blog and receive notifications of new posts by email.