Cervical Cancer Screening in Developing Countries - Chakriwat Medical Information Center

Health Begins with Awareness

Cervical Cancer Screening in Developing Countries

Cervical cancer is one of the most common types of cancer affecting women globally.

After watching Dr. Anna Nyakabau's incredibly insightful TED talk concerning cervical cancer in the midst of limited medical resources in her native Eastern African country of Zimbabwe, I can not help but to wonder: As cervical cancer is highly preventable with a simple screening test (Pap smear) and a vaccine, how can we take measures in making these necessary screenings accessible and more importantly, affordable to people living in developing countries and rural areas around the world?

So, what and where is the cervix? More importantly, what exactly is cervical cancer?

For a better understanding please allow me to explain a little bit of anatomy (I apologize in advance if this is inappropriate but the explanation is purely for the purposes of medical science). The cervix is located at the lower end of the uterus that opens into the vaginal cavity. Simply put, cervical cancer occurs when abnormal cells on the cervix grow out of proportion and the body loses control over these cells. Once these cells infiltrate the lymphatic system and enter into the blood stream, they can spread to other vital organs in the body (this is termed metastasis) disrupting their normal physiological function and eventually shutting the body down altogether.

The current guidelines regarding cervical cancer prevention and screening in the United States are as follows:

HPV vaccines (Gardasil) should be administered to all women between the age of thirteen and twenty-six. Gardasil is a very important vaccine due to the fact that it protects against HPV (human papillomavirus infection) strains six, eleven, sixteen, and eighteen. These four strains of human papillomavirus are widely believed to be the causation of roughly seventy percent of all cervical cancer cases. (staggering statistic!)

Next:

Pap smear screening (Papanicolaou test) at the office should commence once the patient reaches the age of twenty-one. This very important screening test should be repeated once every two to three years until the patient approaches the age of sixty-five. The objective of this screening test? Early detection -- to look closely for abnormal cells on the cervix or any serious atypical cells that may arise. This will allow the healthcare provider to employ appropriate follow up exams such as colposcopy or a biopsy in a timely manner with the hope of preventing the cells from advancing to dysplasia, carcinoma in situ and eventually becoming cancerous.

It is a fact that Pap smear screening lowers mortality with early detection. Thank you again to Dr. Nyakabau in sharing with us an easily preventable problem that can be solved with greater awareness from the public. I hope we all can be part of the solution. The question to this seemingly solvable problem in the developing countries and rural areas remains: How??

cervical-cancer

Thai language version:

ฉบับภาษาไทย แปลจากบทความข้างต้นซึ่ง เขียนโดย นายแพทย์ จักรีวัชร วิวัชรวงศ์

มะเร็งปากมดลูกเป็นมะเร็งที่พบได้โดยทั่วไปในผู้หญิงทั่วโลก หลังจากที่ผมได้ชมการบรรยายของดอกเตอร์ Anna Nyakabau ที่ได้มาให้ความรู้ผ่านการพูดทาง TED ดอกเตอร์แอนนาได้กล่าวถึงว่ามะเร็งปากมดลูกมีความน่าเป็นห่วง และเนื่องจากว่าทรัพยากรทางการแพทย์มีอยู่อย่างจำกัดในภาคตะวัดออกของประเทศซิมบับเวซึ่งตั้งอยู่ในทวีปแอฟฟริกา ดอกเตอร์ Anna กล่าวว่า “ฉันอดที่จะสงสัยไม่ได้ว่าโรคมะเร็งปากมดลูกเป็นโรคที่สามารถป้องกันได้สูงเพียงการใช้วิธีการตรวจแบบง่ายๆและการฉีดวัคซีน คำถามก็คือว่า เราจะทำอย่างให้คนในประเทศกำลังพัฒนาและคนในชนบทสามารถเข้าถึงการตรวจแปปสเมียรได้อย่างทั่วถึง (Pap Smear หรือ Pap Test) ซึ่งเป็นวิธีการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก โดยแพทย์จะใช้เครื่องมือสอดผ่านและถ่างช่องคลอด แล้วมะเร็งปากมดลูกคืออะไร เพื่อให้คนเข้าใจเรื่องนี้กระจ่างยิ่งขึ้นไป ผมจะขออธิบายถึงกายวิภาคสักหน่อย ผมต้องขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วยถ้าหากสิ่งที่ผมกล่าวถึงไม่เหมาะไม่ควร แต่การอธิบายนี้อยู่บนพื้นฐานทางด้านวิทศาสตร์การแพทย์ล้วนๆ ปากมดลูกคือส่วนที่ต่ำลงไปกว่ามดลูก ปากมดลูกเป็นส่วนที่จะเปิดไปสู่ช่องคลอด ต่อไปผมจะขออธิบายแบบง่ายๆว่ามะเร็งปากมดลูกเกิดขึ้นได้อย่างไร มะเร็งปากมดลูกเกิดเมื่อขึ้นเมื่อเซลล์มีการแบ่งตัวอย่างผิดปกติเติบโตขึ้น และร่างกายของเราไม่สามารถควบคุมเซลล์เหล่านี้ได้ เมื่อเซลล์เหล่านี้แทรกซึมไปจนถึงระบบน้ำเหลืองและเข้าไปสู่กระแสเลือด เซลล์ไม่ได้เหล่านี้จะแพร่กระจายเข้าสู่อวัยวะสำคัญของร่างกายทำให้อวัยวะไม่สามารถทำงานต่อไปได้

แนวทางในการป้องกันมะเร็งปากมดลูกปัจจุบันและการคัดกรองในประเทศอเมริกามีดังต่อไปนี้ ผู้หญิงที่อายุระหว่าง 13- 26 ปี ควรได้รับการฉีดวัคซีน HPV ซึ่งถือว่าเป็นวัคซีนที่มีความสำคัญต่อผู้หญิง ซึ่งจะช่วยป้องกันการติดเชื้อจากไวรัสสายพันธ์ 6, 11, 16, และ 18 ไวรัสทั้ง 4 สายพันธ์นี้เป็นสาเหตุก่อให้เกิดมะเร็งปากมดลูกถึง 70 เปอร์เซนต์ การตรวจแปปสเมียร์สามารถเริ่มตรวจได้ตั้งแต่อายุ 21 ปี หมอจะแนะนำให้ตรวจซ้ำทุกๆ 2-3 ปีจนกระทั่งอายุ 65 ปี จุดประสงค์ก็เพื่อที่จะตรวจหามะเร็งในระยะเริ่มต้นที่ปากมดลูกรวมไปจนถึงเซลล์ที่ต่างไปจากปกติอย่างมาก และเพื่อที่จะได้รับการตรวจอย่างเหมาะสมตามมาเช่นการตรวจด้วยกล้องขยายทางช่องคลอด (colposcopy) หรือ การตรวจชิ้นเนื้อ ซึ่งหากมีการตรวจได้ทันท่วงทีก่อนที่เซลล์จะพัฒนาไปเป็นเซลล์ที่ผิดปกติ/คาร์ซิโนมาในระยะต้น และกลายไปเป็นมะเร็งในที่สุด มีบทพิสูจน์แล้วว่าการตรวจแปปสเมียร์สามารถช่วยลดการเสียชีวิตและเป็นการป้องกันแต่เนิ่นๆ ขอขอบคุณ ดอกเตอร์ Anna Nyakabau ที่กรุณาแบ่งปันเรื่องราวที่สามารถช่วยป้องกันปัญหาที่จะตามมาและนอกจากนี้ยังสามารถนำไปสู่การตะหนักรู้เรื่องมะเร็งปากมดลูกในสาธรณชน ผมหวังเป็นอย่างยิ่งว่าพวกเราจะเป็นส่วนหนึ่งในการแก้ปัญหานี้ คำถามก็ยังมีอยู่ว่า ทำอย่างไรพวกเราถึงจะแก้ปัญหานี้ในประเทศที่กำลังพฒนาและพื้นที่ชนบท

thai-cevical-cancer

Author:

Share on FacebookTweet about this on TwitterShare on Google+Email this to someonePrint this page
 


Post a Comment

Your email address will not be published. Required fields are marked *

  • Top Posts Today

  • Tags

  • April 2025
    M T W T F S S
     123456
    78910111213
    14151617181920
    21222324252627
    282930  
  • Share on FacebookTweet about this on TwitterShare on Google+Email this to someonePrint this page
  • FOLLOW ME

  • Subscribe to Blog via Email

    Enter your email address to subscribe to this blog and receive notifications of new posts by email.